หลวงพ่อพระมหากฤชวัฒน์ ปัญญาวุโธ เตรียมงาน ทำบุญครบรอบ วันบวงสรวงเสื้อวัด ทรงวัดศาลปู่ปัญญาฯ ประจำปี 17- 4 - 2567

วัดถ้ำลอดเจริญธรรม อ.เนินมะปราง จ.พิษณุโลก พระมหากฤชวัฒน์ ปัญญาวุโธ หลวงพ่อพระมหากฤชวัฒน์ ปัญญาวุโธ ทำบุญครบรอบ วันบวงสรวงเสื้อวัด ทรงวัดศาลปู่ปัญญาฯ ประจำปี 17- 4 - 2567 คาถาชินบัญชร, สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) พระคาถาชินบัญชร ฉบับย่อ พระคาถานี้เป็นคาถาศักดิ์สิทธิ์ตกทอดมาจากลังกา ท่านเจ้าประคุณสมเด็จฯค้นพบในคัมภีร์โบราณและได้ดัดแปลงแต่งเติมให้ดีขึ้นเป็นเอกลักษณ์พิเศษ ผู้ใดสวดภาวนาพระคาถานี้เป็นประจำสม่ำเสมอจะทำให้เกิดความสิริมงคลแก่ตนเอง ศัตรูไม่กล้ากล้ำกราย มีเมตตามหานิยม ขจัดภัยตลอดจนคุณไสยต่างๆ เพื่อให้เกิดอานุภาพยิ่งขึ้น ก่อนเจริญภาวนาให้ตั้งนะโม 3 จบ นึกถึงหลวงปู่โตแล้วตั้งอธิษฐานว่า คำภาวนาก่อนสวด ตั้งนะโม 3 จบ (ที่มาของบทสวด นะโม 3 จบ) นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุท ธัสสะ นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุท ธัสสะ นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุท ธัสสะ พระคาถาชินบัญชร ฉบับย่อ ชิ นะ ปัญ ชะ ระ ปะ ริ ตัง มัง รัก ขะ ตุ สัพ พะ ทา (ภาวนา 10 จบ) พระคาถาชินบัญชร ฉบับเต็ม ก่อนสวดให้นึกถึง หลวงปู่โต พรหมรังสี แล้วตั้งจิตอธิษฐาน ว่า ปุตตะกาโม ละเภปุตตัง ธะนะกาโม ละเภธะนัง อัตถิกาเย กายะ ญายะ เทวานัง ปิยะตัง สุตตะวา อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ เริ่มสวดบทพระคาถาชินบัญชร 15 บท ชะยาสะนากะตา พุทธา เชตวา มารัง สะวาหะนัง จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา. ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา. สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร. หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก. ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโล กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก. เกสะโต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว กุมาระกัสสโป เถโร มะเหสี จิตตะ วาทะโก โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิคุณากะโร. ปุณโณ อังคุลิมาโร จะ อุปาลี นันทะ สีวะลี เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ. เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา. ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ ลังกะตา วาตะปิตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา. อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ เตชะสา วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร. ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา. อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ.

ความคิดเห็น

  1. วัดถ้ำลอดเจริญธรรม อ.เนินมะปราง จ.พิษณุโลก พระมหากฤชวัฒน์ ปัญญาวุโธ หลวงพ่อพระมหากฤชวัฒน์ ปัญญาวุโธ ทำบุญครบรอบ วันบวงสรวงเสื้อวัด ทรงวัดศาลปู่ปัญญาฯ ประจำปี 17- 4 - 2567

    ตอบลบ

  2. คาถาชินบัญชร, สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี)
    พระคาถาชินบัญชร ฉบับย่อ

    พระคาถานี้เป็นคาถาศักดิ์สิทธิ์ตกทอดมาจากลังกา ท่านเจ้าประคุณสมเด็จฯค้นพบในคัมภีร์โบราณและได้ดัดแปลงแต่งเติมให้ดีขึ้นเป็นเอกลักษณ์พิเศษ ผู้ใดสวดภาวนาพระคาถานี้เป็นประจำสม่ำเสมอจะทำให้เกิดความสิริมงคลแก่ตนเอง ศัตรูไม่กล้ากล้ำกราย มีเมตตามหานิยม ขจัดภัยตลอดจนคุณไสยต่างๆ เพื่อให้เกิดอานุภาพยิ่งขึ้น ก่อนเจริญภาวนาให้ตั้งนะโม 3 จบ นึกถึงหลวงปู่โตแล้วตั้งอธิษฐานว่า

    คำภาวนาก่อนสวด
    ตั้งนะโม 3 จบ (ที่มาของบทสวด นะโม 3 จบ)

    นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุท ธัสสะ
    นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุท ธัสสะ
    นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุท ธัสสะ

    พระคาถาชินบัญชร ฉบับย่อ
    ชิ นะ ปัญ ชะ ระ ปะ ริ ตัง มัง รัก ขะ ตุ สัพ พะ ทา (ภาวนา 10 จบ)

    พระคาถาชินบัญชร ฉบับเต็ม
    ก่อนสวดให้นึกถึง หลวงปู่โต พรหมรังสี แล้วตั้งจิตอธิษฐาน ว่า

    ปุตตะกาโม ละเภปุตตัง ธะนะกาโม ละเภธะนัง
    อัตถิกาเย กายะ ญายะ เทวานัง ปิยะตัง สุตตะวา
    อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ
    มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ

    เริ่มสวดบทพระคาถาชินบัญชร 15 บท
    ชะยาสะนากะตา พุทธา เชตวา มารัง สะวาหะนัง
    จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา.

    ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา
    สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา.

    สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน
    สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร.

    หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ
    โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก.

    ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโล
    กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก.

    เกสะโต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร
    นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว

    กุมาระกัสสโป เถโร มะเหสี จิตตะ วาทะโก
    โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิคุณากะโร.

    ปุณโณ อังคุลิมาโร จะ อุปาลี นันทะ สีวะลี
    เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ.

    เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา
    เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา
    ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา.

    ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง
    ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง

    ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง
    อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา

    ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ ลังกะตา
    วาตะปิตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา.

    อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ เตชะสา
    วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร.

    ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล
    สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา.

    อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข
    ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว
    ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ
    สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย
    สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ.

    ตอบลบ

  3. พระมหากฤชวัฒน์ ปญญาวุโธ ประธานโครงการ
    ดร.ชยณัฎฐ์ แสงมณี ผจก .โครงการและประสานงาน เพื่อก่อตั้ง
    มูลนิธิวัดถ้ำลอดเจริญธรรม หมู่ที่ 9 ต.เนินมะปราง อ.เนินมะปราง จ.พิษณุโลก
    (เป็นกรณีศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ)
    การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ธรรมชาติ และธรรมสถานวัฒนธรรมไทย
    วัดถ้ำลอดเจริญธรรม ต.เนินมะปราง อ.เนินมะปราง จ.พิษณุโลก<

    ตอบลบ

  4. พระมหากฤชวัฒน์ ปญญาวุโธ ประธานโครงการ
    ดร.ชยณัฎฐ์ แสงมณี ผจก .โครงการและประสานงาน เพื่อก่อตั้ง
    มูลนิธิวัดถ้ำลอดเจริญธรรม หมู่ที่ 9 ต.เนินมะปราง อ.เนินมะปราง จ.พิษณุโลก
    (เป็นกรณีศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ)
    การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ธรรมชาติ และธรรมสถานวัฒนธรรมไทย
    วัดถ้ำลอดเจริญธรรม ต.เนินมะปราง อ.เนินมะปราง จ.พิษณุโลก<

    ตอบลบ
  5. การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ธรรมชาติ และธรรมสถานวัฒนธรรมไทย
    วัดถ้ำลอดเจริญธรรม ต.เนินมะปราง อ.เนินมะปราง จ.พิษณุโลก

    แนวความคิด แหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
    ตามคำจำกัดความการท่องเที่ยวเชิงนิเวศของราชบัณฑิตยสถาน แหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศจะหมายรวมถึง แหล่งท่องเที่ยวที่มีเอกลักษณ์ทุกแห่งตั้งแต่แหล่งธรรมชาติ โบราณสถาน ไปจนถึงชุมชนท้องถิ่น เพราะฉะนั้นแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ได้แก่ อุทยานแห่งชาติ วนอุทยาน เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขตห้ามล่าสัตว์ป่า อุทยานประวัติศาสตร์ แหล่งโบราณคดี ไปจนถึงชุมชนต่างๆ ที่เปิดให้มีการท่องเที่ยว
    วัดถ้ำลอดเจริญธรรม ต.เนินมะปราง อ.เนินมะปราง จ.พิษณุโลก
    การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ เป็นการท่องเที่ยวที่อาศัยธรรมชาติเป็นฐาน (nature - based tourism ) เช่น แหล่งท่องเที่ยวประเภท อุทยาน วนอุทยาน ภูเขา,ถ้ำ และต้นไม้วิวเขา เป็นต้น แต่อาจหมายรวมถึง ศิลปวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ และวิถีชีวิตของคนท้องถิ่น ต.เนินมะปราง อ.เนินมะปราง จ.พิษณุโลก หากสิ่งเหล่านี้ปรากฏอยู่ในหรือเกี่ยวข้องกับระบบนิเวศธรรมชาติ
    การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ เป็นการท่องเที่ยวที่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อระบบนิเวศน้อยหรือต่ำ หรือไม่มีผลกระทบต่อวิถีทางธรรมชาติและวัฒนธรรมท้องถิ่น จนทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงไปในทางลบ เพราะฉะนั้นการป้องกันและควบคุมผลกระทบอันเกิดจากการท่องเที่ยว
    องค์ประกอบสำคัญที่ควรพิจารณาอยู่ 3 ประการ คือ การสร้างจิตสำนึกเกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ความพึงพอใจของนักท่องเที่ยว และการมีส่วนร่วมของชุมชนการสร้างจิตสำนึกเกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเป็นปัจจัยพื้นฐานสำคัญของแหล่งท่องเที่ยวธรรมชาติและระบบนิเวศ

    กิจกรรมการท่องเที่ยว
    วัดถ้ำลอดเจริญธรรม ต.เนินมะปราง อ.เนินมะปราง จ.พิษณุโลก การท่องเที่ยวเชิงนิเวศเป็นกิจกรรมที่เอื้อให้เกิดประสบการณ์เรียนรู้แก่นักท่องเที่ยวและไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม อาทิเช่น
    1.กิจกรรมการเดินป่า
    2.กิจกรรมศึกษาธรรมชาติ
    3.กิจกรรมถ่ายรูปธรรมชาติ บันทึกเทปวิดีโอเทปเสียงธรรมชาติ
    4.กิจกรรมส่อง/ ดูนก กิจกรรมศึกษา/ เที่ยวถ้ำ ไหว้พระกราบปิดทองลอยพุทธบาทสี่ลอย ที่เกิดขึ้น ในรูปแบบธรรมชาติ และ ถ่ายรูป หงส์ ซึ่งเป็นหินปูน ที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติ ที่สร้างสรรค์มาเมื่อ 300 ล้านปี
    5.กิจกรรมชมสวนอุทยานลานพระพุทธปัญญา
    6.กิจกรรมให้อาหารลิงป่า จำนวนหลายร้อยตัว
    7.กิจกรรมให้อาหารช้างและการอนุรักษ์ช้างไทยตลอดจน การอนุรักษ์ วัวและควายไทย
    8.กิจกรรมปั่นจักยาน รอบอุทยาน หรือ อาจเป็น กิจกรรมประเภทตื่นเต้นผจญภัยหรือชื่นชมธรรมชาติ
    9.กิจกรรมวิสาหกิจชุมชน อ. เนินมะปราง
    10.กิจกรรมการผู้สูงอายุ ธรรมะอนุรักษ์ศิลปะและประเพณีวัฒนธรรมท้องถิ่นไทย
    การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ธรรมชาติ และธรรมสถานวัฒนธรรมไทย
    วัดถ้ำลอดเจริญธรรม ต.เนินมะปราง อ.เนินมะปราง จ.พิษณุโลก
    ท่าน พระมหากฤชวัฒน์ ปญญาวุโธ ประธานโครงการ
    ดร.ชยณัฎฐ์ แสงมณี ผจก .โครงการและประสานงาน

    ตอบลบ

แสดงความคิดเห็น

งานประชาสัมพันธ์ ผลงาน ท่านหลวงพ่อพระมหากฤชวัฒน์ ปัญญาวุโธ

ข่าว ทำบุญครบรอบ วันเสียชีวิตคุณแม่ ประจำปี 8 - 4- 2567 หลวงพ่อพระมหากฤชวัฒน์ ปัญญาวุโธ วัดถ้ำลอดเจริญธรรม อ.เนินมะปราง จ.พิษณุโลก

ศิษย์ หลวงพ่อพระมหากฤชวัฒน์ ปัญญาวุโธ เฮ่ลั้น พลวงพ่อเตรียมงาน ทำบุญครบรอบประจำปี 17 -4 - 2567 ทำพิธี สืบชะตา สะเดาะเคราะห์ เสริมบารมี แก้ปีชง ให้กับศิษย์ทุกคนที่มาร่วมงาน นี้ รวยๆทุกๆคน